19
ต.ค.
ระบบแปดวิหารของจิงฝาง (ตอนจบ)
จากที่ได้คลุกคลีกับกลุ่มผู้เรียนวิชาอี้จิงแนวพยากรณ์โดยเฉพาะในหมู่คนที่เรียนวิชาลิ่วเหยา เท่าที่ผมเคยได้พูดคุยมาพบว่ากลุ่มคนเหล่านี้รู้วิชาพยากรณ์แบบพอคร่าวๆ…
19
ต.ค.
ระบบแปดวิหารของจิงฝาง (ตอนที่3)
ทฤษฎีน่าเจี่ย ซึ่งบ้านเราดูเหมือนจะเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่าทฤษฎีหนับกะ คือทฤษฎีที่รองรับความสัมพันธ์ระหว่างระบบกาลกับระบบฉักลักษณ์ โดยมองว่าระหว่างระบบกาล…
19
ต.ค.
ระบบแปดวิหารของจิงฝาง (ตอนที่2)
หลังจากที่เราได้รู้เกี่ยวกับลำดับอนุกรมฉักลักษณ์ของจิงฝาง ก็ขอต่อด้วยเรื่องของความสัมพันธ์ของเส้นในตรีลักษณ์บนและตรีลักษณ์ล่าง นั่นคือเรื่องของ ซื่อ(世) และ ยิ่ง(應)
19
ต.ค.
ระบบแปดวิหารของจิงฝาง (ตอนที่1)
จิงฝาง เป็นชาวฮั่นตะวันตก(77-37 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นศิษย์ของเจียวก้าน(ผู้แต่งตำราอี้จิง “เจียวซื่ออี้หลิน”) เดิมแซ่หลี่ นามที่ตั้งให้เรียกคือจวินหมิง อาชีพรับราชการ…