“โจวอี้” คือคัมภีร์หรือตำราอธิบายกว้าหรือฉักลักษณ์ทั้ง 64 และลายเส้นทั้งหมดภายในกว้าหรือฉักลักษณ์ ซึ่งเขียนขึ้นโดย โจวเหวินหวัง แห่งราชวงค์โจว…
โจวกง คือพระโอรสของโจวเหวินหวังผู้รจนาฉักลักษณ์ทั้งหกสิบสี่ของคัมภีร์โจวอี้ และเป็นอนุชาของโจวอู่หวัง พระนามเดิมชื่อจีตั้น เป็นลำดับที่สี่ในพี่น้องสิบคน…
ในบทนี้ขออธิบายความหมายของฉักลักษณ์ทั้งสามที่ใช้ในวิชาทำนายอี้จิงดอกเหมย โดยเป็นบทความต่อเนื่องจากบทความเดิมเรื่อง “ฉักลักษณ์ทั้งสามในอี้จิงดอกเหมย”
ในบทนี้เราจะมาทำความรู้จักพื้นฐานการทำนายด้วยอี้จิงดอกเหมยกัน ขึ้นชื่อว่าอี้จิงแล้วสิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องใช้ก็คือกว้าหรือฉักลักษณ์ สิ่งสำคัญขั้นต้นคือต้องหาวิธีตั้งฉักลักษณ์
ระบบกาลคืออะไร? กาลในที่นี้ก็คือกาลเวลา ระบบกาลของจีนก็คือระบบการบอกกาลเวลาของจีน ซึ่งรวมความตั้งแต่ ชั่วยาม วัน เดือน ปี หรือพูดง่ายๆก็คือในหน่วยเล็กอ้างถึงยามเวลาในแต่ละวัน…
วิชาทำนายอี้จิงแบบอี้จิงดอกเหมย เรียกว่าวิชา “เหมยฮวาอี้ซู่ 梅花易數” หรือ “เหมยฮวาซินอี้ 梅花心易” ก็เรียก มาจากคำว่า 梅花 เหมยฮวา แปลว่า ดอกเหมยและ 易 อี้ แปลว่า เปลี่ยนแปลง…
ท่านเส้าคังเจี๋ยเป็นราชบัญฑิตในราชวงค์ซ้อง หลังจากรับราชการมานานเส้าคังเจี๋ยได้ลาออกจากราชการเพราะความเบื่อหน่าย และต้องการที่จะทุ่มเทเวลาให้กับการศึกษาอี้จิง…
เมื่อมีการกำหนดตรีลักษณ์ทั้ง 8 ขึ้นมาแล้ว ก็ได้มีการกำหนดเรียงตรีลักษณ์เหล่านี้เข้าด้วยกันเป็นแผนภูมิเพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ของพลังงานของตรีลักษณ์ที่สัมพันธ์กันขึ้นมา โดยแผนภูมินี้ถูกเรียกว่าแผนภูมิอัฏฐลักษณ์…
อันว่า 5 ธาตุนั้นคือตัวแทนเชิงคุณสมบัติและปฏิกิริยาต่อกันของสิ่งต่างๆ (ไม่ใช่ คุณสมบัติเชิงองค์ประกอบมูลฐานเหมือนที่หลายๆที่กล่าวกัน) ดังนั้นเราจะพบว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นสามารถจัดหมู่รวมเข้าในหลัก 5 ธาตุได้ทั้งสิ้น…
หลัก 5 ธาตุถือว่าเป็นหลักการที่แสดงแนวคิดและความเชื่อแบบจีนผ่านทางวัฒนธรรมจีนมา ช้านาน สามารถกล่าวได้ว่าแทบจะไม่มีศาสตร์ใดๆของจีนที่ไม่อิงหลัก 5 ธาตุ ไม่ว่าจะเป็นโหราศาสตร์, พยากรณ์, แพทยศาสตร์, ฮวงจุ้ย…