ทฤษฎีน่าเจี่ย ซึ่งบ้านเราดูเหมือนจะเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่าทฤษฎีหนับกะ คือทฤษฎีที่รองรับความสัมพันธ์ระหว่างระบบกาลกับระบบฉักลักษณ์ โดยมองว่าระหว่างระบบกาล…
หลังจากที่เราได้รู้เกี่ยวกับลำดับอนุกรมฉักลักษณ์ของจิงฝาง ก็ขอต่อด้วยเรื่องของความสัมพันธ์ของเส้นในตรีลักษณ์บนและตรีลักษณ์ล่าง นั่นคือเรื่องของ ซื่อ(世) และ ยิ่ง(應)
จิงฝาง เป็นชาวฮั่นตะวันตก(77-37 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นศิษย์ของเจียวก้าน(ผู้แต่งตำราอี้จิง “เจียวซื่ออี้หลิน”) เดิมแซ่หลี่ นามที่ตั้งให้เรียกคือจวินหมิง อาชีพรับราชการ…
หลังจากที่กษัตริย์เหวินแห่งราชวงค์โจวหรือโจวเหวินหวัง(หวังแปลว่ากษัตริย์) ได้สร้างฉักลักษณ์ขึ้นมาจากตรีลักษณ์ทั้งแปดของฝูซีแล้ว ก็ได้ทำการกำหนดชื่อ…
นับจาก ฝูซี กษัตริย์ยุคดึกดำบรรพ์ของจีนได้ทำการกำหนดสัญลักษณ์ซึ่งประกอบด้วยขีดหยิน-หยางจนกลายเป็นตรีลักษณ์ทั้งแปดที่เรียกว่าอัฐลักษณ์ขึ้นมาแล้ว…
เนื้อหาในหน้านี้คือการรวบรวมรายชื่อฉักลักษณ์ทั้ง 64 ฉักลักษณ์ในคัมภีร์อี้จิงไว้ รวมทั้งเสียงอ่านจีนและชื่อตัวอักษรจีน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงและตรวจสอบ รวมถึงเป็น Index…
หลังจากที่เราได้แนะนำวิธีการตั้งฉักลักษณ์แบบหลังสวรรค์ไปแล้ว ก็คงถึงเวลามาดูวิธีต่างๆที่นิยมใช้กันในการตั้งฉักลักษณ์แบบหลังสวรรค์กันละครับ ซึ่งมีหลายวิธีมาก…
ดังที่ได้เคยกล่าวไปบ้างแล้วว่าการตั้งฉักลักษณ์เพื่อทำนายในวิชาอี้จิงดอกเหมยนั้นมีอยู่สองวิธี คือวิธีแบบก่อนสวรรค์(ก่อนฟ้า)และวิธีแบบหลังสวรรค์(หลังฟ้า)…
เมื่อวานอยู่ๆผมได้หวนคิดถึงหนังจีนชุดสมัยเก่าก่อน สมัยที่ยังไม่มีหนังเกาหลี และอดคิดถึงหนังจีนชุดที่ถือว่าเป็นตำนานความนิยมเรื่องหนึ่งไม่ได้ นั่นคือเรื่อง “เปาบุ้นจิ้น”…
ตอนแรกคิดว่าจะเขียนเนื้อหาวิชาต่อ เพราะช่วงหลังลงเรื่องอ้อมไปเยอะ แต่อยู่ๆก็คิดได้ว่าผมยังไม่ได้ลงเรื่องพื้นฐานอีกเรื่องที่หลายคนอาจจะไม่รู้ ก็เลยขอลงเรื่องนี้…