หลังจากที่กษัตริย์เหวินแห่งราชวงค์โจวหรือโจวเหวินหวัง(หวังแปลว่ากษัตริย์) ได้สร้างฉักลักษณ์ขึ้นมาจากตรีลักษณ์ทั้งแปดของฝูซีแล้ว ก็ได้ทำการกำหนดชื่อ…
นับจาก ฝูซี กษัตริย์ยุคดึกดำบรรพ์ของจีนได้ทำการกำหนดสัญลักษณ์ซึ่งประกอบด้วยขีดหยิน-หยางจนกลายเป็นตรีลักษณ์ทั้งแปดที่เรียกว่าอัฐลักษณ์ขึ้นมาแล้ว…
เนื้อหาในหน้านี้คือการรวบรวมรายชื่อฉักลักษณ์ทั้ง 64 ฉักลักษณ์ในคัมภีร์อี้จิงไว้ รวมทั้งเสียงอ่านจีนและชื่อตัวอักษรจีน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงและตรวจสอบ รวมถึงเป็น Index…
หลังจากที่เราได้แนะนำวิธีการตั้งฉักลักษณ์แบบหลังสวรรค์ไปแล้ว ก็คงถึงเวลามาดูวิธีต่างๆที่นิยมใช้กันในการตั้งฉักลักษณ์แบบหลังสวรรค์กันละครับ ซึ่งมีหลายวิธีมาก…
ดังที่ได้เคยกล่าวไปบ้างแล้วว่าการตั้งฉักลักษณ์เพื่อทำนายในวิชาอี้จิงดอกเหมยนั้นมีอยู่สองวิธี คือวิธีแบบก่อนสวรรค์(ก่อนฟ้า)และวิธีแบบหลังสวรรค์(หลังฟ้า)…
เมื่อวานอยู่ๆผมได้หวนคิดถึงหนังจีนชุดสมัยเก่าก่อน สมัยที่ยังไม่มีหนังเกาหลี และอดคิดถึงหนังจีนชุดที่ถือว่าเป็นตำนานความนิยมเรื่องหนึ่งไม่ได้ นั่นคือเรื่อง “เปาบุ้นจิ้น”…
ตอนแรกคิดว่าจะเขียนเนื้อหาวิชาต่อ เพราะช่วงหลังลงเรื่องอ้อมไปเยอะ แต่อยู่ๆก็คิดได้ว่าผมยังไม่ได้ลงเรื่องพื้นฐานอีกเรื่องที่หลายคนอาจจะไม่รู้ ก็เลยขอลงเรื่องนี้…
เนื่องจากมีหลายท่านเคยถามผมว่าจะหาอ่านหนังสือเกี่ยวกับอี้จิงภาษาไทยได้จากไหนบ้าง ซึ่งผมก็ตอบไปตามสมควร แต่ปัญหาคือหนังสือส่วนใหญ่น่าจะหาซื้อไม่ได้แล้ว…
ย้อนกลับไปซัก 14 ปีที่แล้ว ผมจำได้ว่าตอนนั้นผมศึกษาอี้จิงได้หลายปีแล้ว และมีอยู่วันหนึ่งผมได้มีโอกาสไปพักในหอพักแห่งหนึ่ง และน่าประหลาดใจมากที่ในห้องที่ผมพักนั้น…
อาจารย์เส้าเว่ยฮวาต่างเป็นที่รู้จักถึงความแม่นยำในการพยากรณ์ของท่าน หลายครั้งที่ผู้คนเข้ามาถามท่านเพื่อขอความช่วยเหลือ แต่ด้วยความสามารถของท่าน…