เสิน โดยทั่วไปหมายถึง เทพ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ จิตวิญญาณ แต่คำว่าเสินในที่นี้ ดูเหมือนจะไม่สามารถอ้างอิงตามความหมายปกติได้ เนื่องจากมันไม่ได้หมายถึงเทพ…
ญาติทั้งหกนั้น แม้จะกล่าวว่ามี 6 แต่ที่หาออกมาจริงๆนั้นจะมีเพียง 5 เท่านั้น โดยไม่นับรวมตำแหน่งแทนตนเอง และนอกจากนี้ ญาติทั้งหกยังไม่เพียงแต่หมายถึงญาติจริงๆ…
หลังจากที่เราได้รายละเอียดฉักลักษณ์เบื้องต้นแล้ว เราอาจจะต้องการรู้ว่าผลการทำนายนั้นจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใด หรือผลดีร้ายที่ออกมานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องไหน…
วิชาลิ่วเหยาเป็นวิชาทำนายด้วยเส้นของฉักลักษณ์ซึ่งมาจากคัมภีร์อี้จิงผ่านพื้นฐานของระบบแปดวิหารของจิงฝาง หลอมรวมกับวิชาดวงจีนจนกลายเป็นวิชาทำนายที่มีเอกลักษณ์
ครั้งนี้เรามาดูรายละเอียดเรื่องระบบกาลของจีนเพิ่มเติมกันให้ละเอียดขึ้นนะครับ สำหรับใครที่ยังไม่ได้อ่านตอนที่ 1 ขอให้กลับไปอ่านก่อนนะครับ ที่ ระบบกาลของจีน ตอนที่ 1…
นับแต่โบราณมามีปราชญ์และบัณฑิตในแผ่นดินจีนมากมายซึ่งได้ทิ้งไว้ ซึ่งตำราและคัมภีร์อันมีค่าจนถึงปัจจุบัน เราคนรุ่นหลังล้วนแต่ได้มีโอกาสศึกษาความรู้ที่สั่งสมมา…
จากที่ได้คลุกคลีกับกลุ่มผู้เรียนวิชาอี้จิงแนวพยากรณ์โดยเฉพาะในหมู่คนที่เรียนวิชาลิ่วเหยา เท่าที่ผมเคยได้พูดคุยมาพบว่ากลุ่มคนเหล่านี้รู้วิชาพยากรณ์แบบพอคร่าวๆ…
ทฤษฎีน่าเจี่ย ซึ่งบ้านเราดูเหมือนจะเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่าทฤษฎีหนับกะ คือทฤษฎีที่รองรับความสัมพันธ์ระหว่างระบบกาลกับระบบฉักลักษณ์ โดยมองว่าระหว่างระบบกาล…
หลังจากที่เราได้รู้เกี่ยวกับลำดับอนุกรมฉักลักษณ์ของจิงฝาง ก็ขอต่อด้วยเรื่องของความสัมพันธ์ของเส้นในตรีลักษณ์บนและตรีลักษณ์ล่าง นั่นคือเรื่องของ ซื่อ(世) และ ยิ่ง(應)
จิงฝาง เป็นชาวฮั่นตะวันตก(77-37 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นศิษย์ของเจียวก้าน(ผู้แต่งตำราอี้จิง “เจียวซื่ออี้หลิน”) เดิมแซ่หลี่ นามที่ตั้งให้เรียกคือจวินหมิง อาชีพรับราชการ…